สูตรแรก
หลักการตอนมุมเป็นลบ
เปลี่ยน sin เป็น cos เปลี่ยน cos เป็น sin
ทบทวนพื้นฐานให้หน่อย
สูตรชุดต่อไป
สูตรมุมเป็นสองเท่า
สูตรมุมครึ่งหนึ่ง
สูตรบวกลบตรีโกณ
เอาละครับนี้ก็สูตรพื้นฐานที่รวบรวมมาให้ ต่อไปเราก็จะมาแสดงกันว่าพวกมันมากันได้อย่างไงกันบ้าง
เอาเป็นว่ารู้กันแบบคร่าวๆนะครับ
ถ้าให้ ฉาก = 1 เราจะได้ sin = ข้าม cos = ชิด
และใช้ทฤษฏีของพิทากอรัส จะได้ว่า
ทำในลักษณะเดียวกันแต่ลองให้ด้านอื่นเป็น 1 เราก็จะได้อันที่เหลือ
ต่อไปอย่างฉับไว
แล้วก็นึกถึงหลักการจากสูตรแรกสุดที่ว่า
ต่อไปมาดูกันที่ tan
จากสูตรข้างบนเราแทน B:=A เราก็จะได้
จากสูตรข้างต้นที่ว่า
ทำในลักษณะเดียวกันแต่เป็น cos เราจะได้สูตร
เอาสมการที่ได้มาหารกัน
และสูตรต่อไปจาก
และเราก็จะได้สูตรเป็น
วงกลมหนึ่งหน่วย
คือวงกลมที่มีรัศมียาว 1 หน่วย มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ (0,0)
องศากับเรเดียน
หนึ่งรอบของวงกลมคือ 2Pi เรเดียน = 360o ดังนั้น
Pi เรเดียน = 180o
ซึ่งจะเอาตรงนี้เป็นหลักเลย เมื่อโจทย์ถามถึงมุมองศาอื่นๆ ก็หารตามสัดส่วน
Pi/2 เรเดียน = 180o/2 = 90o
Pi/3 เรเดียน = 180o/3 = 60o
Pi/4 เรเดียน = 180o/4 = 45o
Pi/6 เรเดียน = 180o/6 = 30o
Pi/3 เรเดียน = 180o/3 = 60o
Pi/4 เรเดียน = 180o/4 = 45o
Pi/6 เรเดียน = 180o/6 = 30o
จริงๆมีมุมอีกเยอะ แต่หารแล้วเลขมันจะไม่ลงตัวครับ เราเอาแต่ตัวเลขสวยๆมาเรียนก็แล้วกันนะ จะได้ไม่งง
(x,y) เป็นจุดบนกราฟของวงกลม 1 หน่วย จากรูปจะได้ (x,y) = (cos θ, sin θ)
ค่า Sin Cos Tan ที่ตำแหน่งต่างๆบนวงกลม
วิธีการหาค่า Sin Cos Tan ที่ตำแหน่งต่างๆของวงกลม
ต้องหาด้วยสองขั้นตอนคือ
1. หาค่า sin cos tan นั้นๆ (ไม่ยาก)
2. หาเครื่องหมาย ว่าค่าที่หาได้ เป็น + หรือ – ดูได้จากวงกลม
2. หาเครื่องหมาย ว่าค่าที่หาได้ เป็น + หรือ – ดูได้จากวงกลม
สรุปสูตรพื้นฐาน 8 สูตร
สรุปสูตรตรีโกณมิติของมุมผลบวกและผลต่าง
การเปลี่ยนฟังก์ชันตรีโกณมิติจากมุมผลคูณ เป็นผลบวกหรือผลต่าง
การเปลี่ยนฟังก์ชันตรีโกณมิติจากมุมผลบวกหรือผลต่าง เป็นผลคูณ
สูตรมุม 2, 3, 0.5 เท่า
Inverse ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1. Inverse ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ จะเป้นฟังก์ชันก็ต่อเมื่อ ฟังก์ชันนั้นเป็นฟังก์ชันแบบ 1-1
2. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ไม่ใช่ฟังก์ชัน 1-1 ดังนั้น Inverse ของงฟังก์ชันตรีโกณมิติ จึงไม่เป็นฟังก์ชัน
3. ถ้าต้องการให้ Inverse ของฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็นฟังก์ชัน ต้องกำหนดโดเมนของฟังก์ชันตรีโกณมิติให้ลดลง เพื่อจะได้เป็นฟังก์ชันแบบ 1-1 โดยที่เรนจ์ของฟังก์ชันยังคงเดิม
4. การกำหนดโดเมนของฟังก์ชันตรีโกณมิติ เพื่อทำให้เป็นฟังก์ชันแบบ 1-1 นั่น จะกำหนดช่วงใดก็ได้ แต่นิยมช่วงใกล้ๆศูนย์
2. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ไม่ใช่ฟังก์ชัน 1-1 ดังนั้น Inverse ของงฟังก์ชันตรีโกณมิติ จึงไม่เป็นฟังก์ชัน
3. ถ้าต้องการให้ Inverse ของฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็นฟังก์ชัน ต้องกำหนดโดเมนของฟังก์ชันตรีโกณมิติให้ลดลง เพื่อจะได้เป็นฟังก์ชันแบบ 1-1 โดยที่เรนจ์ของฟังก์ชันยังคงเดิม
4. การกำหนดโดเมนของฟังก์ชันตรีโกณมิติ เพื่อทำให้เป็นฟังก์ชันแบบ 1-1 นั่น จะกำหนดช่วงใดก็ได้ แต่นิยมช่วงใกล้ๆศูนย์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น